การสูบลมยาง

4 กุมภาพันธ์ 2564

การสูบลมยาง


ในกรณีสูบลมยางน้อยกว่ามาตรฐาน


• อายุยางลดลง
• บริเวณไหล่ยางจะสึกหรอเร็วกว่าส่วนอื่นเกิดความร้อนสูงที่บริเวณไหล่ยาง ทำให้ผ้าใบ หรือเนื้อยางไหม้แยกออกจากกัน
• โครงยางบริเวณแก้มยางฉีกขาด หรือหักได้
• สิ้นเปลืองน้ำมันเชื้อเพลิง

ในกรณีสูบลมยางมากกว่ามาตรฐาน


• เกิดการลื่นไถลได้ง่าย เนื่องจากพื้นที่การยึดเกาะถนนลดลง
• โครงยางระเบิดได้ง่ายเมื่อได้รับแรงกระแทก หรือถูกตำ เนื่องจากโครงยางเบ่งตัวเต็มที่ เกิดการยืดหยุ่นตัวได้น้อย
• ดอกยางจะสึกบริเวณตรงกลางหน้ายางมากกว่าส่วนอื่นๆ
• อายุยางลดลง
• ความนุ่มนวลในขณะขับขี่ลดลง



การกระจายน้ำหนักบรรทุก (Load Distribution)


การสูบลมยาง

4 กุมภาพันธ์ 2564

การสูบลมยาง


ในกรณีสูบลมยางน้อยกว่ามาตรฐาน


• อายุยางลดลง
• บริเวณไหล่ยางจะสึกหรอเร็วกว่าส่วนอื่นเกิดความร้อนสูงที่บริเวณไหล่ยาง ทำให้ผ้าใบ หรือเนื้อยางไหม้แยกออกจากกัน
• โครงยางบริเวณแก้มยางฉีกขาด หรือหักได้
• สิ้นเปลืองน้ำมันเชื้อเพลิง

ในกรณีสูบลมยางมากกว่ามาตรฐาน


• เกิดการลื่นไถลได้ง่าย เนื่องจากพื้นที่การยึดเกาะถนนลดลง
• โครงยางระเบิดได้ง่ายเมื่อได้รับแรงกระแทก หรือถูกตำ เนื่องจากโครงยางเบ่งตัวเต็มที่ เกิดการยืดหยุ่นตัวได้น้อย
• ดอกยางจะสึกบริเวณตรงกลางหน้ายางมากกว่าส่วนอื่นๆ
• อายุยางลดลง
• ความนุ่มนวลในขณะขับขี่ลดลง



การกระจายน้ำหนักบรรทุก (Load Distribution)